อาชีพ
อาชีพราษฎรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองกลางนามีอาชีพ ดังนี้
![]() |
ได้แก่ การทำนา การทำไร่ การทำสวนผลไม้และสวนผัก |
![]() |
ได้แก่ การเลี้ยงสุกร เลี้ยงปลา เลี้ยงโค เลี้ยงไก่ |
![]() |
ได้แก่ ทำปลาร้า การทำขนมหวาน หัตถกรรมครัวเรือน |
![]() |
ได้แก่ ขายอาหาร ขายของชำ |
![]() |
ได้แก่ รับจ้างทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม และรับจ้างทั่วไป |
หน่วยธุรกิจในเขตตำบลหนองกลางนา
![]() |
จำนวน 4 แห่ง (ปั้มหลอด) |
![]() |
จำนวน 2 แห่ง (อุตสาหกรรมสุรา, อุตสาหกรรมกะทิ) |
![]() |
จำนวน 5 แห่ง |
![]() |
จำนวน 3 แห่ง |
![]() |
จำนวน 4 แห่ง |
![]() |
จำนวน 2 แห่ง |
![]() |
จำนวน 5 แห่ง |
![]() |
จำนวน 1 แห่ง |
![]() |
จำนวน 3 แห่ง |
ÃÂ
อาชีพเสริมรายได้ในตำบลหนองกลางนา
ณิชาฟาร์มปูนาราชบุรี
ปูนาธรรมชาติ
ในอดีตปูนาเป็นสัตว์ที่ไม่น่าสนใจ เพราะพบเจอได้ง่าย มีตามทุ่งนา ลาคลอง ริมน้า แต่พบเป็นช่วงๆ ตามฤดูกาล สามารถหาเพื่อนามาทาทาอาหารได้ง่าย จนบางครั้งเหมือนมีเยอะเกินไป และในบางพื้นที่มีมากจนไม่สามารถทาการเกษตรได้ แต่ในปัจจุบันจานวนปูนาได้ลดปริมาณลงเนื่องด้วย ได้รับสารเคมีในการทาการเกษตรจากแหล่งต่างๆ แต่ก็ยังเป็นที่ต้องการของตลาด ยิ่งในช่วงฤดูแล้ง มีการจับปู ขุดตามท้องนา เพื่อนามาบริโภค ยิ่งทาให้ปริมาณปูลดน้อยงลง เพราะเป็นช่วงที่ปูนาจาศีล
โดยธรรมชาติ ปูนาจะมีนิสัยชอบขุดรู ตามทุ่งนา คันนา คันคู คันคลอง โดยรูปูจะอยู่ใกล้บริเวณแหล่งน้า เพราะแหล่งอาหารในการดารงชีวิตของพวกมัน
ââ ลักษณะของรูปู จะมีความแตกต่างกันไปตามพื้นที่ แต่ส่วนใหญ่จะอยู่ในบริเวณที่น้าท่วมไม่ถึง ปากรูจะอยู่เหนือน้า หรือ ต่ากว่าน้าเล็กน้อย เพื่อสะดวกในการเข้า-ออก ส่วนใหญ่รูจะตรงไม่คดเคี้ยว
การจับปูนาตามธรรมชาตินิยมจับกัน2ช่วงคือช่วงน้าหลากหลังการวางไข่ช่วงเดือนพฤษภาคม ถึงกรกฎาคม ไม่ควรจับเพื่อเป็นการอนุรักษ์สายพันธุ์ปูนา จึงเปลี่ยนมาเป็นช่วง กันยายน ถึง ตุลาคมและอีกช่วงคือ หลังเกี่ยวข้าวหรือน้าลดในช่วง พฤศจิกายน ถึง กุมภาพัน์ (ปูจาศีล) แต่ช่วงที่ออกมาจับปูนามาบริโภคกันส่วนมากจะเป็นช่วง พฤศจิกายน ถึง ธันวาคม เพราะปูนาได้รับอาหารตามธรรมชาติมีไขมันมาก สมบูรณ์สูงมาก มีรสชาติอร่อยมากกว่าทุกช่วง
|